การนำหลักการ Stop loss ไปใช้งานร่วมกับการซื้อขายจริง
การนำหลักการ Stop loss ไปใช้งานร่วมกับการซื้อขายจริงจากกราฟด้านล่าง> แนวโน้มราคาหุ้นได้เกิดการวกกลับขึ้นมา โดยสังเกตได้จากลักษณะของแท่งเทียนที่บริเวณแนวรับ> แนวรับอยู่ที่ประมาณ 2.08 ซึ่งค่า Par SAR อยู่ที่ราคา 2.08 บาทต่อหุ้น> ราคาหุ้น ณ ปัจจุบัน (ตามกราฟ) อยู่ที่ 2.2 บาทต่อหุ้น
สมมุติว่า> ให้กำหนด limit loss ไว้ที่ -1% ของพอร์ตการลงทุน ในที่นี้กำหนดไว้ –10,000 บาท
> แล้วเรามองว่าที่บริเวณแนวรับ คือตำแหน่ง Stop loss ในที่นี้กำหนดให้ Stop loss ที่ราคา 2 บาทต่อหุ้น (ต่ำกว่าแนวรับ)> ณ ขนะนี้ราคาหุ้นอยู่ที่ 2.2 บาทต่อหุ้น และคาดว่าจะไปที่ 2.5 บาทต่อหุ้น
> กำหนดการเข้าซื้อ 2 ครั้ง โดยซื้อที่ราคา 2.2, 2.1 บาทต่อหุ้น
> ในการเข้าซื้อแต่ละครั้งยอมขาดทุนได้ –5,000 บาท (-10,000/2)ดังนั้น> ซื้อครั้งที่ 1 = 5,000/ (2.2-2) = 25,000 หุ้น เมื่อลงไปที่ 2 บาท/หุ้น ให้ Stop loss
> ซื้อครั้งที่ 2 = 5,000/ (2.1-2) = 50,000 หุ้น เมื่อลงไปที่ 2 บาท/หุ้น ให้ Stop lossทั้งนี้วิธีการนี้ควรซื้อในแนวโน้ม Uptrend และขั้นตอน วิธีการ การประยุกต์ใช้งาน ระยะเวลาในการลงทุน ควรปรับให้เหมาะสมกับผู้เทรดด้วยครับ
สมมุติว่า> ให้กำหนด limit loss ไว้ที่ -1% ของพอร์ตการลงทุน ในที่นี้กำหนดไว้ –10,000 บาท
> แล้วเรามองว่าที่บริเวณแนวรับ คือตำแหน่ง Stop loss ในที่นี้กำหนดให้ Stop loss ที่ราคา 2 บาทต่อหุ้น (ต่ำกว่าแนวรับ)> ณ ขนะนี้ราคาหุ้นอยู่ที่ 2.2 บาทต่อหุ้น และคาดว่าจะไปที่ 2.5 บาทต่อหุ้น
> กำหนดการเข้าซื้อ 2 ครั้ง โดยซื้อที่ราคา 2.2, 2.1 บาทต่อหุ้น
> ในการเข้าซื้อแต่ละครั้งยอมขาดทุนได้ –5,000 บาท (-10,000/2)ดังนั้น> ซื้อครั้งที่ 1 = 5,000/ (2.2-2) = 25,000 หุ้น เมื่อลงไปที่ 2 บาท/หุ้น ให้ Stop loss
> ซื้อครั้งที่ 2 = 5,000/ (2.1-2) = 50,000 หุ้น เมื่อลงไปที่ 2 บาท/หุ้น ให้ Stop lossทั้งนี้วิธีการนี้ควรซื้อในแนวโน้ม Uptrend และขั้นตอน วิธีการ การประยุกต์ใช้งาน ระยะเวลาในการลงทุน ควรปรับให้เหมาะสมกับผู้เทรดด้วยครับ
0 ความคิดเห็น :